ผศ.ดร.พนิดา สมประจบ

       ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พนิดา สมประจบ
              Mrs. Panida Somprajob

หน่วยงานที่สังกัด สาขา/แผนก  มนุษย์ศาสตร์ ภาควิชา/กอง สาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
คณะศิลปศาสตร์  เลขที่  39  หมู่ที่  1  อาคาร  ซอย.  ถนน  ตำบลคลอหก อำเภอธัญบุรี  จังหวัดปทุมธานี  รหัสไปรษณีย์  12110
โทรศัพท์ (ที่ทำงาน) 02-54949578  โทรศัพท์ (มือถือ)09-82715488 โทรสาร  025775017  Email panida_s@rmutt.ac.th
ประวัติการศึกษา (เรียงลำดับจากระดับสูงสุด)
เริ่มปี พ.ศ.
จบปี พ.ศ.
วุฒิที่ได้รับ
สาขาวิชา
สถาบัน
ประเทศ
2551
2554
ปร.ด. (ปรัชญาดุษฎี บัณฑิต)
วัฒนธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัย มหาสารคาม
ไทย
2538
2540
อ.ม.(อักษรศาสตร มหาบัณฑิต)
บรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
ไทย
2526
2530
ศศ.บ.(ศิลปศาสตร บัณฑิต) เกียรตินิยม อันดับสอง
บรรณารักษศาสตร์
มหาวิทยาลัย ขอนแก่น
 
2536
2538
บธ.บ. (บริหารธุรกิจ บัณฑิต)
การตลาด
มหาวิทยาลัย สุโขทัย ธรรมาธิราช
 
วันที่เริ่มต้นทำงาน  10 มกราคม 2532
ความเชี่ยวชาญ (โดยเรียงลำดับความสำคัญจากมากไปน้อย) 
อันดับ 1  (ภาษาไทย)       วัฒนธรรม
           (ภาษาอังกฤษ)   Culture
อันดับ 2 (ภาษาไทย)       บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
          (ภาษาอังกฤษ)   Library and Information Sciences
อันดับ 3 (ภาษาไทย)      สังคมศาสตร์
          (ภาษาอังกฤษ)  Social Sciences
ผลงานที่สำคัญ (วิจัย/ด้านเทคนิค)
เริ่มปี พ.ศ.
เสร็จปี พ.ศ.
ชื่อผลงาน/โครงการ
หน่วยงาน/บริษัท
 
2542
การใช้และความต้องการใช้วารสารศิลปะของอาจารย์และ นักศึกษาคณะศิลปกรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
 
2543
พฤติกรรมการแสวงหาและการใช้สารสนเทศทางศิลปะของ นักศึกษาคณะศิลปกรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
 
2542
การประเมินหลักสูตรระดับปริญญาตรีสาขาศิลปกรรม ผู้วิจัยร่วม
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
 
2544
ความต้องการใช้คอมพิวเตอร์ของนักศึกษาคณะศิลปกรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
 
2544
การรับสารสนเทศเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาของ บุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
 
2545
การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารในศูนย์กลางสถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล.
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
 
2545
ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของอาจารย์คณะศิลปกรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
 
2545
การออกแบบสื่อโฆษณาและการประชาสัมพันธ์สารสกัดสะเดา เชิงธุรกิจจังหวัดปทุมธานี. ผู้วิจัยร่วม
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
 
2547
พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศประกอบการทำศิลปนิพนธ์ ของนักศึกษาคณะศิลปกรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
 
2546
ปัญหาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของนักศึกษาภาควิชา ศิลปกรรมศึกษา คณะศิลปกรรม  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
 
2549
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เปเปอร์มาเช่และการออกแบบบรรจุภัณฑ์ จากเศษกระดาษเหลือใช้เพื่อสร้างรายได้แก่ชุมชนจังหวัด ปทุมธานี.
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
 
 
 
 
 
2553
การพัฒนาฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจังหวัดปทุมธานีเพื่อ บริการวิชาการแก่สังคมบนอินเทอร์เน็ต.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี
 
2553
การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ผ้าฝ้ายย้อม ครามบ้านเชิงดอย จังหวัดสกลนคร ในโครงการผลิตภัณฑ์ชุมชน และท้องถิ่น.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี
 
2554
การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจริงของผู้นำ ท้องถิ่นในจังหวัดปทุมธานี.  ผู้วิจัยร่วม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี
 
2556
รูปแบบการจัดการสารสนเทศภูมิปัญญาท้องถิ่นงานหัตถกรรมไม้ แกะสลักภาคกลางโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี
 
2557
หัตถกรรมจักสานไทยพวน: รูปแบบการจัดการความรู้ภูมิปัญญา ท้องถิ่นเพื่อธำรงอัตลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นโดยการมี ส่วนร่วมของชุมชน.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี
 
2558
รูปแบบการจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นงานจักสาน ก้านมะพร้าวภาคกลางเพื่อธำรงอัตลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรม ท้องถิ่น.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี
 
2558
คุณลักษณะบัณฑิตทพี่ ึงประสงค์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติในทัศนะของนักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.  ผู้วิจัยร่วม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี
 
2562
รูปแบบการอนุรักษ์ภูมิปัญญาการทอเสื่อกก บ้านบางสระเก้า อำเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี. ผู้วิจัยร่วม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี
2564
กำลัง ดำเนินการ
แนวทางส่งเสริมการตระหนักรู้การคัดลอกผลงานของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี