รศ.ดร.พิมพ์นภัส ภูมิกิตติพิชญ์

รองศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์นภัส ภูมิกิตติพิชญ์
MissisPimnapat Bhumkittipich
หน่วยงานที่สังกัด
        สาขา   สังคมศาสตร์    สาขาวิชา   สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี  เลขที่ 39 หมู่ที่ 1
อาคาร – ซอย – ถนน รังสิต-นครนายก ตำบลคลองหก  อำเภอธัญบุรี 
จังหวัดปทุมธานี  รหัสไปรษณีย์12110
 
        ประวัติการศึกษา (เรียงลำดับจากระดับสูงสุด)
เริ่มปี พ.ศ.
จบปี พ.ศ.
วุฒิที่ได้รับ
สาขาวิชา
สถาบัน
ประเทศ
2551
2555
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
ม.เกษตรศาสตร์
 
ไทย
2540
2543
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
ม.เกษตรศาสตร์
 
ไทย
2536
2539
ศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาสังคมวิทยามานุษยวิทยา       
ม.เกษตรศาสตร์
 
ไทย
 
วันที่เริ่มต้นทำงาน 16 กันยายน 2546
  ความเชี่ยวชาญ  (โดยเรียงลำดับความสำคัญจากมากไปน้อย)
  • การจัดการพลังงานทดแทน
  • Renewable Energy Management
  • รูปแบบบที่เหมาะสม
  • Optimal Model
  • การประเมินผลกระทบทางสังคม
  • Social Impact Assesment
 
        ผลงานที่สำคัญ (วิจัย/ด้านเทคนิค)
เริ่มปี พ.ศ.
เสร็จปี พ.ศ.
ชื่อผลงาน/โครงการ
หน่วยงาน/บริษัท
2555
2556
รูปแบบการพัฒนาศักยภาพของชุมชนชนบทภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสาหรับระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ยั่งยืน
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2556
2555
2557
การจำลองแบบการบริหารจัดการระบบผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ในชุมชนแบบมีบูรณาการ
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2556 
2556
2558
การจำลองแบบปัจจัยแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาระบบผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ยั่งยืนในประเทศไทย
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2557
2559
2560
การผสมผสานพลังงานทดแทนเพื่อเพิ่มการผลิตกระแสไฟฟ้าในชุมชนแม่สลองใน จังหวัดเชียงราย
กองทุนส่งเสริมงานวิจัย มทร.ธัญบุรี ประจำปีงบประมาณ 2560
2559
2560
รูปแบบที่เหมาะสมสำหรับการจัดการระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังนํ้าขนาดเล็กในชุมชนพื้นที่ห่างไกลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2560
 
 
          ผลงานตีพิมพ์
1. Pimnapat Iemsomboona, Nipon Tangthamb, Sirikorn Kanjanasuntorn, Surat Bualert. Modeling Community Quality of Life Indicators for Developing Solar Home System in Remote Areas, Energy Procedia, Volume 9, 2011, Pages 44–55.
2. Pimnapat Iemsomboon, Trirath Pati, Krischonme Bhumkittipich. Performance Study of Micro Hydro Turbine and PV for Electricity Generator, Case Study: Bunnasopit School, Nan Province, Thailand, Energy Procedia, Volume 11, 2013, Pages 235-242.
3. Pimnapat Iemsomboona and Nipon Tangthamb. 2013. Problems and Barriers on SHSs Management in Thailand’s Rural Areas based on SWOT Analysis, Energy Procedia, Volume 56, 2014, Pages 598–603
4. Pimnapat Iemsomboon, “Photovoltaic System for a Sufficiency Economy Community”, Socially-engaged Scholarship, 2014-2015
5. Pimnapat Bhumkittipich and Nuttakit Iamsomboon. “Model of Transfer Process on Solar Home System Management in Remote Areas, Thailand” 13th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium, Udonthani, Thailand, 1-4 December 2016.     
6. Pimnapat Bhumkittipich and Hideaki Ohgaki. “Development Strategy for Sustainable Solar Home System in the Akha Upland Community of Thailand” Energies, Volume 11, 2018, Pages 1509.
7. พิมพ์นภัส เอี่ยมสมบูรณ์ นิพนธ์ ตั้งธรรม สิริกร กาญจนสุนทร และสุรัตน์ บัวเลิศ. 2556. การจำลองแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์สาหรับคุณภาพชีวิตที่เหมาะสมในพื้นที่ห่างไกล, วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ปีที่ 34 : 92 – 104 (2556).
8. พิมพ์นภัส ภูมิกิตติพิชญ์. 2559. รูปแบบการพัฒนาศักยภาพชุมชนสำหรับการใช้ระบบผลิตกระแสไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์: กรณีศึกษาชุมชนแม่สลองใน จังหวัดเชียงราย วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่   ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559)